วันที่ 1 สิงหาคม 2557
ณ ห้องประชุมโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
1. การนำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ของคณะครูโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
Quarter ที่ 2 Topic: ข้าว
2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter ที่ 2 Topic: ถั่ว
3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter ที่ 2 Topic: ผ้า
4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Quarter ที่ 2 Topic: Animation
5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter ที่ 2 Topic: อาเซียน
6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter ที่ 2 Topic: ป่าโคกหีบ
7. ชั้นอนุบาล 1 Quarter ที่ 2 Topic: ไก่
2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter ที่ 2 Topic: ถั่ว
3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter ที่ 2 Topic: ผ้า
4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Quarter ที่ 2 Topic: Animation
5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter ที่ 2 Topic: อาเซียน
6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter ที่ 2 Topic: ป่าโคกหีบ
7. ชั้นอนุบาล 1 Quarter ที่ 2 Topic: ไก่
8. ชั้นม.1
Quarter ที่ 2 Topic: กินเป็นอยู่เป็น
9. ชั้นม.2
Quarter ที่ 2 Topic: มนุษย์พันล้านชีวิต
10. ชั้นม.3
Quarter ที่ 2 Topic: ร่องรอยแห่งชีวิต
และข้อเสนอแนะในการนำเสนอแผนการสอน
2. แนะนำตารางการอบรม
สถานที่ โดยครูต๋อย
3. สรุปองค์ความรู้
โดยครูอ้อน
ความรู้ที่ได้จากการอบรมจะนำไปใช้ที่โรงเรียน ดังนี้
1. นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรม ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
และผู้เรียน
และผู้เรียน
2.
นำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้แก่บุคลากรเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องเหมาะสม
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศ
วันที่ 2 สิงหาคม 2557
ภาคเช้า
1. การจัดครูเข้าศึกษาดูงาน
(ครูต๋อย)
อนุบาล 1 ดรุณ ตุ๊กตา
ป. 1 กุ้ง
ป.2 กาญ
ป. 3 อั๋น
ป.4 ทองดี
ป.5 บัวหอม แต๋
ป.6 เอ๋
2. กิจกรรมจิตศึกษา(ครูภร)
การบ้าน
2.1 อ่านหนังสืออธิษฐานสิจ๊ะกับนางฟ้าสีเขียว แต่งโดย ผอ.วิเชียร ไชยบัง
อ่านแล้วคิดถึงตัวเองตอนเด็กๆ
2.2 เตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ PBL (ชื่อ
เป้าหมาย ภูมิหลัง คำถามสำคัญ)
3. ครูต๋อย
- กิจกรรมจิตศึกษา
ภาคบ่าย
4. การใช้โปรแกรม
Picasa โดยครูอ้อน
5. การเขียนบทความบนบล๊อก
โดยครูอ้อน
การบ้าน
- เขียนบทความลงบนบล๊อก
การบ้านครูภร
การจัดทำแผน PBL
ชื่อ Topic: อาหารบ้านเฮา
เป้าหมาย
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของอาหารพื้นบ้านภาคเหนือเพื่อให้ได้พัฒนา
สืบสานวัฒนธรรมของคนในภาคเหนือ
สืบสานวัฒนธรรมของคนในภาคเหนือ
ภูมิหลัง
ภาคเหนือเป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ครั้งในอดีตเป็นดินแดนแห่งมีขนบธรรมเนียม
ประเพณี ที่งดงามเหล่านี้ได้สืบทอดกันมานานแสนนานภาคเหนือเป็นพื้นที่ที่มีอากาศหนาวเย็นคล้ายต่างประเทศชาวเหนือยังปลูกลูกพืช
ผัก เมืองหนาวได้แต่อาหารดั้งเดิมของภาคเหนือ ก็ยังใช้ผักตามป่าเขา
และผักที่ขึ้นเองตามธรรมชาติมาทำเป็นอาหารพื้นบ้าน ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงศักยภาพและอัตลักษณ์ทางสังคม ที่แต่ละแห่งก็มีพัฒนาการมาอย่างยาวนาน
สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมของแต่ละชุมชน
เริ่มสูญหายไปจากท้องถิ่น ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้วิถีชีวิตของผู้คนสมัยใหม่ที่มีความรีบเร่ง ซับซ้อน
ไม่ค่อยมีเวลาในการประกอบอาหารด้วยตนเอง รวมไปถึงการขยายตัวของวัฒนธรรมอาหารฟาสฟู้ด
ที่มาพร้อมกับความสะดวก รวดเร็วทันใจ และแสดงถึงความโอ่อ่าทันสมัย
ทำให้อาหารท้องถิ่นบางชนิดกลายเป็นสิ่งที่เริ่มจะไร้คุณค่า
เกิดการสูญเสียองค์ความรู้และลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นลงไปอย่างน่าเสียดาย
เนื่องจากการขาดความสนใจของผู้คนสมัยใหม่ที่จะช่วยสานต่อความรู้ในด้านอาหารของ
ท้องถิ่น ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนสมัยใหม่ ทั้งๆ ที่ความสำคัญของอาหารนอกจากจะเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับระบบชีวิตของชุมชนแล้วยังเป็นเครื่องแสดงถึงภูมิปัญญาและสร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชน ซึ่งสมควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดระบบความรู้และสานต่อ เพื่อรักษาคุณค่าทางวัฒนธรรมและเป็นสื่อในการเรียนรู้ของผู้คนในท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ ร่วมกันนำไปพัฒนา ปรับปรุง ผสมผสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมด้านอาหารการกินให้คงอยู่ต่อไป ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ที่ 6 ได้ศึกษาและเข้าใจความสำคัญของอาหารพื้นบ้านของภาคเหนือเพื่อที่จะนำไปอนุรักษ์สืบสานต่อไป
ท้องถิ่น ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนสมัยใหม่ ทั้งๆ ที่ความสำคัญของอาหารนอกจากจะเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับระบบชีวิตของชุมชนแล้วยังเป็นเครื่องแสดงถึงภูมิปัญญาและสร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชน ซึ่งสมควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดระบบความรู้และสานต่อ เพื่อรักษาคุณค่าทางวัฒนธรรมและเป็นสื่อในการเรียนรู้ของผู้คนในท้องถิ่นและผู้ที่สนใจ ร่วมกันนำไปพัฒนา ปรับปรุง ผสมผสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมด้านอาหารการกินให้คงอยู่ต่อไป ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ที่ 6 ได้ศึกษาและเข้าใจความสำคัญของอาหารพื้นบ้านของภาคเหนือเพื่อที่จะนำไปอนุรักษ์สืบสานต่อไป
คำถามสำคัญ
1. นักเรียนคิดว่าอาหารพื้นบ้านของภาคเหนือมีความสำคัญอย่างไร
2. นักเรียนคิดว่าอาหารพื้นบ้านกับอาหารปัจจุบันมีความแตกต่างกันอย่างไร
3. นักเรียนคิดว่าทำไมอาหารพื้นบ้านเริ่มสูญหายไปจากวิถีชีวิตของคนในภาคเหนือ
วันที่ 4
สิงหาคม 2557
รายละเอียด
ภาคเช้า
1. เข้าร่วมวิถีและสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา
ป. 1
ครููต๋อย
ป. 4
ครููภร
ภาคบ่าย
1. สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
PBL. ป. 2,4
2. สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
3. AAR.สิ่งที่ได้เรียนรู้
ก. บันทึกรายละเอียดภาคเช้า
1. เข้าร่วมวิถีและสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา
เวลา 08.00
น. ร่วมวิถี
2. กิจกรรมจิตศึกษา ป. 4
ครููภร
กิจกรรมส่งแรงใจด้วยดอกรักและเมล็ดถั่ว
ขั้นตอน
1) เปิดเพลงคลื่นสมองต่ำ
2) กิจกรรมBrain gym
3) ครูส่งดอกรักและเมล็ดถั่ว ให้นักเรียนนักเรียนรับด้วยความนอบน้อม
4) เมื่อรับอุปกรณ์แล้วให้นักเรียนนำอุปกรณ์ที่ได้รับสร้างภาพเหตุการณ์ที่นักเรียนได้รับหรือ ประสบการณ์ขณะปิดเทอม
5) นักเรียนเล่าเรื่องจากสิ่งที่นักเรียนสร้างขึ้นที่ละคน
จนครบทุกคน
6) ครูสรุปกิจกรรม
7) ครูเตรียมพร้อมนักเรียนเพื่อการเริ่มเรียน
ข.
สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา โดยครูต๋อย ครูภร
เข้าร่วมวิถี
จากการสังเกตการทำงานของเด็กจะเห็นได้ว่ามีทักษะการคิด
ทักษะการทำงาน ทำงานได้คล่องแคล่วรวดเร็ว ครูเอาใจใส่เด็กได้ดีมาก
ทำงานด้วยความสนุกสนาน มีความมั่นใจสูงมาก
มีบางส่วนที่ทำงานช้าครูก็คอยเป็นที่ปรึกษาดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด
ภาคบ่าย
1. สังเกตการทำ Body
Scan ป.4
2. สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
PBL. ป. 2,4
2.1 การสังเกตการสร้างแรงบันดาลใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
4
ในการสร้างแรงบันดาลใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีขั้นตอนดังนี้
-ครูเปิดคลิปให้นักเรียนดู 3 เรื่อง
ดังนี้
1) เรื่องที่ 1 Zero
2) นิทานเรื่องพ่อ
3) สัญญาของแม่
2.2 ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับคลิปที่ได้ดู
2.3 รวมกลุ่มนักเรียนทำกิจกรรม
ครูวาดรูปการ์ตูนรูปหน้าให้นักเรียนดู
นักเรียนออกมาวาดการ์ตูนที่กระดาน
ครูแจกกระดาษให้นักเรียนวาดภาพหน้าการ์ตูนแสดงอารมณ์ของคนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
สรุปความรู้จากการสังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ PBL. ป.4 |
2. สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
3. AAR.สิ่งที่ได้เรียนรู้
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
5 สิงหาคม 2557
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
1) เข้าร่วมวิถีและสังเกตจิตศึกษา
- ป. 2
- ป. 5
2) สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา
2. ภาคบ่าย
2) สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
- PBL.ป. 2
- PBL ป. 5
3) สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
4) AAR. สิ่งที่ได้เรียนรู้
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
1) เข้าร่วมวิถีและสังเกตจิตศึกษา
- ป. 2
- ป. 5
สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา (ครูต๋อย ครูภร)
2) สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา ป.5 (ครูภร)
ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
- เตรียมความพร้อมเด็ก
- เริ่มกิจกรรมจิตศึกษา เป็นกิจกรรมเขียนความรู้สึกลงบนกระดาษ
1) ครูเตรียมกระดาษ A 4 ส่งให้นักเรียนทุกคน
2) นักเรียนเตรียมปากกา
3) ให้นักเรียนวาดภาพอะไรก็ได้ถ้าวาดไม่ได้เขียนชื่อตัวเองก็ได้
4) เมื่อเขียนเสร็จแล้ววางปากกาลงที่ข้างหน้าตัวเอง
5) ส่งกระดาษเวียนไปทางขวามือเพื่อให้ทุกคนเขียนให้กำลังใจซึ่งกันและกันจนกระดาษกลับมาที่ตัวเอง (ช่วงที่รอ ครูจะใช้กิจกรรมBrian gym)
6) ตัวแทนเก็บกระดาษ(นักเรียนอาจนำไปตกแต่งผลงานทีหลังได้)
สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา (ครูต๋อย ครูภร)
1) ครูต๋อยและคณะดูงานอภิปรายกิจกรรมจิตศึกษา
2) ให้ความรู้เรื่องขั้นตอน Body Scan
- ทำให้ผ่อนคลาย (อาจใช้เป็นคำพูด)
- ใส่ข้อมูล (อาจจะใช้วิธีการเล่าเรื่อง...)
- ตอนปลุก (อาจจะใช้วิธีการนับ)
- ฺBrain gymโดยการร้องเพลง เช่นเพลงความเกรงใจ หรือกิจกรรมกระตุ้นเช่น กรรไกร
นับ 1-100 ถอยหลัง ฯลฯ
2. ภาคบ่าย
1) สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
- PBL.ป.3
- PBL ป.6
ก. สังเกตการทำ Body
Scan ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยครูสัง กิจกรรมขั้นตอนมีดังนี้
- นักเรียนนอนในท่าสบาย
- การพูดให้นักเรียนผ่อนคลาย
ใช้คำพูดที่อ่อนโยน ใช้เสียงเบาๆในการพูด ทำให้นักเรียนรู้สึกผ่อนคลาย จากเท้า
ไปจนถึงหัวและเล่าเรื่องประกอบ
- ปลุกนักเรียนโดยการใช้คำพูดที่ผ่อนคลาย
คล้อยตามทำให้ลุกขึ้นมาพร้อมที่จะเรียน
โดยการนับ 1-10
และทำฺ Brain gym
ข. สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
โดยถามนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจป่าโคกหีบ
นักเรียนตอบคำถามดังนี้
-พบต้นไม้
-ป่ายาง
-มันสำปะหลัง
-ขวดแก้วแตก
-คนเก็บเห็ด
-คนตัดต้นไม้
-ขยะ
-โคลน
-ถนนไม่สะดวก
ครูถามปัญหาที่พบในป่า
-ป่าไม้ถูกตัด
ถูกถางเพื่อปลูกมันสำปะหลัง
-ปัญหาขยะ
-แนวทางแก้ไข
ครูถามว่าเราจะมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
นักเรียนเสนอแนวทาง
-บวชต้นไม้
-เก็บขยะ
ฯลฯ
ครูถามโดยให้คิดเป็นการบ้านว่า
1) ต้นเหตุของการทำลายป่าเกิดจากอะไร
2) อนาคตป่าโคกหีบจะเป็นอย่างไร
นักเรียนเขียนสรุปจากการไปเดินสำรวจป่าโคกหีบ
1) สิ่งที่เป็นปัญหา
2) ปัญหาที่พบ
3) สิ่งที่น่ารู้
4) ส่วนที่ได้เรียนรู้
5) แนวทางแก้ไข
4) สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
-ได้สังเกตวิถีก่อนกลับของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นักเรียนร่วมกันทำงานทั้งงานส่วนตัวและงานกลุ่มจนเสร็จและสังเกตพิธีนม
5) AAR. สิ่งที่ได้เรียนรู้
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
6 สิงหาคม 2557
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
1) เข้าร่วมวิถีและสังเกตจิตศึกษา
- ป. 3
- ป. 6
2) สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา
2. ภาคบ่าย
1) สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
- PBL.ป. 1
- PBL ป. 5
2) สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
4) AAR. สิ่งที่ได้เรียนรู้
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
1) เข้าร่วมวิถีและสังเกตจิตศึกษา
- ป. 3
- ป. 6
เข้าร่วมวิถี
2) สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา ป.6 (ครูต๋อย)
ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
- เตรียมความพร้อมเด็ก
- ครูต๋อยนั่งในวงกลมเช็คจำนวนเด็กว่ามาครบหรือยังมีใครขาดเรียนบ้าง
- เริ่มกิจกรรมจิตศึกษา
1) เปิดเพลงคลื่นสมองต่ำ
2) เริ่มโดยการทำ Body
Scan
3) ครูนำนักเรียนทำกิจกรรมเบรนยิมประกอบเพลงพร้อมนับจำนวน 1-16
4) ครูนำทำท่ากายบริหารในท่านั่งโดยใช้ช่วงแขน
มือ และเท้า
5) ครูให้ดูภาพขาวดำจำนวน 2 ภาพโดยส่งไปทางซ้ายมือและขวามือคุณครูข้างละ 1 ภาพ พร้อมตั้งคำถามว่าเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร
ซึ่งเป้าหมายของกิจกรรมคือความเห็นอกเห็นใจกัน
6) นักเรียนบอกสิ่งที่เห็นจากภาพทั้งสองหรืออย่างใดอย่างหนึ่งและความรู้สึกและอยากตั้งคำถามว่าอย่างไร
7) ครูให้นักเรียนจับมือกันถ่ายทอดความรักความปรารถนาดีให้แก่กันและกัน
8) นักเรียนยกมือไหว้ขอบคุณครู
เพื่อนๆ
สรุปกิจกรรมภาคเช้า
ป.3
ผอ.ปกรณ์- ชื่นชอบอยากกลับไปเป็นเด็กอีกครั้ง
ผอ.ดรุณ - แปลกกว่าสองวันที่ผ่านมาการใช้เบรนยิมที่น่าสนใจ สื่อที่ครูภรใช้แสดงออกถึงความคิดเปิดโอกาสให้เด็กคิดและขอบคุณสิ่งใด
ครูอั๋น - ครูภรใช้ร่างกายเป็นอุปกรณ์ ถ้าเด็กเรียบร้อยครูจะขอบคุณ
ครูใหญ่-ส่วนใหญ่ครูจะจี้ไปที่คนไม่เรียบร้อยเขาจะรู้สึกว่าตัวเองแย่ ลำปลายมาศจะเติมพลังบวกตลอด คนที่รู้ตัวเองก็จะมีสติตลอดเป็นการควบคุมจากภายใน
ป.6
ครูประเสริฐ-เห็นการเตรียมความพร้อมที่ใช้เพลงประกอบท่าทางเพื่อเตรียมให้เกิดความพร้อม มีการใช้ภาพประกอบการทำจิตศึกษา
ครูบัวหอม- มีการใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดความคิด
ครูเอ๋- ครูถามให้นักเรียนเกิดการใคร่ครวญในการคิด
ครูต๋อย-เป้าหมายของจิตศึกษาชั้นป.6 คือ ความเห็นอกเห็นใจ โดยใช้ภาพ 2 ภาพเป็นสื่อและให้เด็กแสดงความคิดเห็นและให้เด็กตั้งคำถาม สุดท้ายให้เด็กที่อยากตอบคำถามของเพื่อนหรือของตนเอง ครูไม่ได้สรุปหรือพูดแสดงความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน
การบอดี้สแกนเป็นกึ่งการสะกดจิต การสร้างบรรยากาศก็สามารถช่วยได้เช่น การปรับแสงในห้องเรียน การใช้เสียงเพลงประกอบ การใช้เสียงของเราช่วยเติมสิ่งที่ดีเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกิจกรรมบอดี้สแกนนั้น เช่นความมีระเบียบวินัย ความรัก ความซื่อสัตย์เป็นต้น
การที่เด็กตื่นมาแล้วงัวเงียเราใช้เบรนยิมเข้าช่วย การบอกปลุกใช้การนับอย่างมีความหมาย เพลงที่ใช้มี 2 แบบคือ เพลงพัฒนาสมอง เพลงกระตุ้นสมอง
เพลงพัฒนาสมองใช้เพลงบรรเลงไม่มีเนื้อร้องมีดนตรีไม่กี่ชิ้น ส่วนเพลงกระตุ้นสมองเหมาะเวลาทำกิจกรรม แสงสีส้มจะช่วยคลื่นสมองผ่อนคลาย แสงสีขาวจะทำให้วุ่นวาย เสียงที่ใช้ฝึกจะเป็นเสียงโทนธรรมชาติโทนต่ำ
ดังนั้น เสียง แสง บรรยากาศมีช่วยพัฒนาคลื่นสมอง การสอนโดยการบอกแค่ 5% การปฏิบัติ ฝึกและการนำไปใช้คือปฏิเวธ
การplc. ส่วนใหญ่ไม่มีหัวโต๊ะมีแต่มาแชร์สิ่งที่ดีต่อกันที่ประสบความสำเร็จ จะไม่นำปัญหามาเสนอ
โรงเรียนให้เครดิตการเรียนรู้ร่วมกันมาก
PLC. ทำ2เรื่องใหญ่ๆ
สถานที่ บรรยากาศดี มีสัมพันธภาพเชิงบวก สะอาดร่มรื่น วิถี
กิจกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ BAR, AAR (before action review ,after action review) มีอุดมการณ์
เกิดทักษะ เกิดความเข้าใจ - ถอดบทเรียนซึ่งกันและกัน -ทำlesson study
ก่อนทำ bar,aar คือระดับการสนทนา
-ถกเถียง ต่ำสุดไม่เกิดปัญญร่วม
- แจ้งให้ทราบ downloading
- สนทนาหรือฝึกการฟัง dialog ไม่คอยตัดสิน
-creative. ให้ความเห็นด้วยความกรุณา
ผอ.ปกรณ์- ชื่นชอบอยากกลับไปเป็นเด็กอีกครั้ง
ผอ.ดรุณ - แปลกกว่าสองวันที่ผ่านมาการใช้เบรนยิมที่น่าสนใจ สื่อที่ครูภรใช้แสดงออกถึงความคิดเปิดโอกาสให้เด็กคิดและขอบคุณสิ่งใด
ครูอั๋น - ครูภรใช้ร่างกายเป็นอุปกรณ์ ถ้าเด็กเรียบร้อยครูจะขอบคุณ
ครูใหญ่-ส่วนใหญ่ครูจะจี้ไปที่คนไม่เรียบร้อยเขาจะรู้สึกว่าตัวเองแย่ ลำปลายมาศจะเติมพลังบวกตลอด คนที่รู้ตัวเองก็จะมีสติตลอดเป็นการควบคุมจากภายใน
ป.6
ครูประเสริฐ-เห็นการเตรียมความพร้อมที่ใช้เพลงประกอบท่าทางเพื่อเตรียมให้เกิดความพร้อม มีการใช้ภาพประกอบการทำจิตศึกษา
ครูบัวหอม- มีการใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดความคิด
ครูเอ๋- ครูถามให้นักเรียนเกิดการใคร่ครวญในการคิด
ครูต๋อย-เป้าหมายของจิตศึกษาชั้นป.6 คือ ความเห็นอกเห็นใจ โดยใช้ภาพ 2 ภาพเป็นสื่อและให้เด็กแสดงความคิดเห็นและให้เด็กตั้งคำถาม สุดท้ายให้เด็กที่อยากตอบคำถามของเพื่อนหรือของตนเอง ครูไม่ได้สรุปหรือพูดแสดงความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน
การบอดี้สแกนเป็นกึ่งการสะกดจิต การสร้างบรรยากาศก็สามารถช่วยได้เช่น การปรับแสงในห้องเรียน การใช้เสียงเพลงประกอบ การใช้เสียงของเราช่วยเติมสิ่งที่ดีเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกิจกรรมบอดี้สแกนนั้น เช่นความมีระเบียบวินัย ความรัก ความซื่อสัตย์เป็นต้น
การที่เด็กตื่นมาแล้วงัวเงียเราใช้เบรนยิมเข้าช่วย การบอกปลุกใช้การนับอย่างมีความหมาย เพลงที่ใช้มี 2 แบบคือ เพลงพัฒนาสมอง เพลงกระตุ้นสมอง
เพลงพัฒนาสมองใช้เพลงบรรเลงไม่มีเนื้อร้องมีดนตรีไม่กี่ชิ้น ส่วนเพลงกระตุ้นสมองเหมาะเวลาทำกิจกรรม แสงสีส้มจะช่วยคลื่นสมองผ่อนคลาย แสงสีขาวจะทำให้วุ่นวาย เสียงที่ใช้ฝึกจะเป็นเสียงโทนธรรมชาติโทนต่ำ
ดังนั้น เสียง แสง บรรยากาศมีช่วยพัฒนาคลื่นสมอง การสอนโดยการบอกแค่ 5% การปฏิบัติ ฝึกและการนำไปใช้คือปฏิเวธ
การplc. ส่วนใหญ่ไม่มีหัวโต๊ะมีแต่มาแชร์สิ่งที่ดีต่อกันที่ประสบความสำเร็จ จะไม่นำปัญหามาเสนอ
โรงเรียนให้เครดิตการเรียนรู้ร่วมกันมาก
PLC. ทำ2เรื่องใหญ่ๆ
สถานที่ บรรยากาศดี มีสัมพันธภาพเชิงบวก สะอาดร่มรื่น วิถี
กิจกรรม - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ BAR, AAR (before action review ,after action review) มีอุดมการณ์
เกิดทักษะ เกิดความเข้าใจ - ถอดบทเรียนซึ่งกันและกัน -ทำlesson study
ก่อนทำ bar,aar คือระดับการสนทนา
-ถกเถียง ต่ำสุดไม่เกิดปัญญร่วม
- แจ้งให้ทราบ downloading
- สนทนาหรือฝึกการฟัง dialog ไม่คอยตัดสิน
-creative. ให้ความเห็นด้วยความกรุณา
2. ภาคบ่าย
1) สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
- PBL ป. 5
กิจกรรม Body
Scan
-ครูเตรียมความพร้อมเด็ก
เปิดเพลงคลื่นสมองต่ำ
-เมื่อเด็กมีความพร้อมแล้วจึงเริ่มกิจกรรมโดยให้เด็กนอนแล้วเล่าเรื่องเพื่อให้เกิดความผ่อนคลาย
-เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมให้พี่มอนิเตอร์นำกล่าวสวัสดี
ขอบคุณและกล่าวนำพร้อมที่จะเรียน
กิจกรรมการสร้างแรงบันดาลใจเรื่อง
อาเซียน
-นักเรียนนำชิ้นงานจากวันก่อนเรื่อง
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนของแต่ละคนมา Think pare Share กัน โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 3 คน เนื่องจากมีนักเรียนมาก
โดยทำลงในกระดาษ A 3
เนื่องจากนักเรียนอยากเรียนเรื่องอาเซียนอยู่แล้วจึงไม่ต้องสร้างแรงบันดาลใจ
3) สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน
4)
AAR. สิ่งที่ได้เรียนรู้
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
7 สิงหาคม 2557
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
- ม. 1
2) สรุปความรู้จากการสังเกตกิจกรรมจิตศึกษา
2. ภาคบ่าย
1) สังเกตการสร้างแรงบันดาลใจ
- PBL.ม. 1
พิธีชา
1. นักเรียนอาสาบริการประมาณ
5 คน เตรียมอุปกรณ์พิธีชา
2. เตรียมสถานที่
ชา ขนมปังที่ดื่มกับชา อุปกรณ์ ในการดื่มชา
3. นักเรียนนั่งล้อมวง
4. แจกนำ้ชา
ขนมโดยเวียนไปรอบวง
ุ6. ก่อนดื่มชาตัวแทนนักเรียนอ่านข้อความที่เกี่ยวกับคุณธรรม
7. ดื่มชา ขนม
8. เก็บอุปกรณ์
9. กล่าวขอบคุณพี่บริการ
2) สังเกตวิถีก่อนกลับบ้าน ม.2
3) AAR. สิ่งที่ได้เรียนรู้
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
8-9 สิงหาคม
2557
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
8 สิงหาคม 2557
รายละเอียด
1. ภาคเช้า
1) เข้าร่วมวิถี
เคารพธงชาติ |
สวดมนต์ |
มาสาย |
แสดงละคร |
2. ภาคบ่าย
1) เข้าร่วมสังเกต PBL ชั้นประถมศึกษาปีที่
4
-การสรุปPBL สุดสัปดาห์ที่
1 เรื่อง Animation
2) พบผู้ปกครอง
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
9 สิงหาคม
2557
รายละเอียด
1. ร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนของเครือข่าย ของ Mini LPMP
กิจกรรม (ครูภร ครูแป้ง ครูณี)
1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม ฝึกสมาธิ
- นั่งเป็นวงกลม
หันหน้าเข้าวง
- เตรียมอุปกรณ์คนละ 1
อย่าง เช่น ปากกา ดินสอ ยางลบ
- ทุกคนหยิบสิ่งของส่งไปทางขวามือ
เมื่อครูพูดว่าให้ ให้ หยุดส่งเมื่อพูดว่าไม่ให้ ไม่ให้ ส่งต่อเมื่อพูดว่า
ให้ ให้ ให้
- ทุกคนหยิบสิ่งของส่งไปทางซ้ายมือ
เมื่อครูพูดว่าให้ ให้ หยุดส่งเมื่อพูดว่าไม่ให้ ไม่ให้ ส่งต่อเมื่อพูดว่า
ให้ ให้ ให้
2) กิจกรรมเตรียมความพร้อม ฝึกสมาธิ
กิจกรรมใช้สีลงจุดบนกระดาษ
-ครูส่งกล่องสีให้นักเรียนเลือเอาสี
1 ด้าม
-ส่งกระดาษมีภาพวาด เช่น
ภาพปลา คนละ 1 ภาพ
-ให้ใช้สีจุดลงบนภาพวาดโดยใช้เวลา
15 นาที
-เมื่อเสร็จให้พูดแสดงความคิดเห็น
ความรู้สึก
หลังจากทำกิจกรรมครูถามดังนี้
1) ให้แสดงความคิดเห็น
2) ความรู้สึก
3) มีอารมณ์อย่างไร
หมายเหตุ จากการร่วมกิจกรรมสิ่งที่นักเรียนจะได้คือ
ด้านความคิด
-การวางแผน
-หาวิธีใหม่
-การเชื่อมโยง
ด้านความรู้สึก
-สมาธิ
-ความอดทน
-เหนื่อย
-เมื่อย
-หาวิธีใหม่
-ยาก
-ง่าย
-ปล่อยวาง
-ขี้เกียจ
-ขี้เกียจ
-เพลิน
-เบื่อ
-ไม่อยากทำ
-สนุก
-อยากทำ
-ใจร้อน
-เต็มใจ
กิจกรรมที่ได้รับสามารถนำไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนในเรื่องจิตศึกษา
การศึกษาดูงานโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
10 สิงหาคม 2557
เช้า : ถอดบทเรียนครูยิ้ม (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)
: ครูป้อม ครูกลอย (คณิตศาสตร์)
(ครูกลอย มีความสามารถการสอนอนุบาลด้วย)
1. พิธีชา
พิธีชามีขั้นตอนดังนี้
-ขั้นเตรียม
1) หาเจ้าภาพจาก
-นักเรียน
-ผู้ปกครอง
-ถ้าไม่มีเจ้าภาพครูจะเป็นผู้จัดหาเอง
2) ชา
จะหาจากธรรมชาติ เช่น ใบเตย ยอดมะม่วงอ่อน ฯลฯ
3) ขนม
โรงเรียนลำปลายมาศจะไม่ใช้ขนมกรุบกรอบ
4) อุปกรณ์
-ชุดดื่มชา (แก้วใส่ชา ขนม ใบไม้รองขนม ถาดรองอาจใช้ไม้แทนก็ได้
5) สถานที่
จัดที่นั่งเป็นรูปวงกลม โดยวางเบาะเท่าจำนวนคน
จัดบรรยากาศให้เหมาะสมโดยตรงกลางวงนำขอนไม้หรือก้อนหิน มีกระดาษหรือผ้ารอง
จัดดอกไม้ ต้นไม้ประดับให้ดูดี จุดเทียนหอม เปิดเพลงคลอเบาๆ
6) จัดชุดชา
โดยชงชาด้วยน้ำร้อน เทชาใส่ถ้วย เอาถ้วยชา ขนม กระดาษทิชชู วางบนถาด 7) ส่งชุดชา ทีละคนจนครบ เมื่อครบแล้วทุกคนดื่มชา
ขณะดื่มชาจะมีตัวแทนเล่าเรื่อง อ่านบทความ
วรรณกรรมสั้นๆ อาจมีการถามความรู้สึกของผู้ดื่มชา จากการได้รับฟัง
วรรณกรรมสั้นๆ อาจมีการถามความรู้สึกของผู้ดื่มชา จากการได้รับฟัง
8) เก็บอุปกรณ์การดื่มชาโดยส่งคืนเหมือนตอนรับชา
2.ถอดบทเรียนกับครู ยิ้ม
ครูกลอย ครูป้อม
บ่าย : AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้สัปดาห์ที่ 1 (ครูอ้อน)
ดูคลิปวิถีชีวิตชาวจีน แล้วแสดงความคิดเห็น เช่น ความอดทน ความรับผิดชอบ
ดูคลิปวิถีชีวิตชาวจีน แล้วแสดงความคิดเห็น เช่น ความอดทน ความรับผิดชอบ
;;
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น